THL-P | ทดลองทางคลินิกมะเร็งระยะสุดท้าย

วันที่ 18-05-2021 | อ่าน : 347

     THL-P การทดลองทางคลินิกกับผู้เป็นมะเร็งระยะสุดท้าย ที่ผลต้องทำให้หมอหลั่งน้ำตา เรามีการทดลองทางคลินิกในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติไต้หวัน ในปี 2009 จากจำนวนผู้ป่วยระยะสุดท้ายจำนวน 44 ราย ที่อาจมีชีวิตได้อีกประมาณ 8 สัปดาห์ ใช้วิธีการทดลองแบบสุ่ม โดยมีเพียง 30 ราย ได้รับยาจริง และอีก 14 ราย ได้รับยาหลอก ซึ่งแพทย์และคนไข้ก็จะไม่ทราบเช่นกันว่า คนไหนได้รับยาจริงหรือยาหลอก ในจำนวนผู้รับยาจริง 30 ราย มี 28 ราย ได้ตัดเต้านมออกไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว มีเพียง 2 คน ที่ยังมีเต้านมอยู่เนื่องจากตรวจพบเมื่อสายแล้ว ไม่สามารถผ่าตัดได้ ซึ่ง 1 ใน 2 ท่านนี้ หลังจากให้ THL-P ก้อนมะเร็งมีขนาดเล็กลงประมาณ 50% และอีกรายก็มะเร็งก็มีขนาดลดลงเช่นกัน ประมาณ 0.3 ซม.

     หลังจากรับยา 6 เดือน ผู้ป่วยที่ได้รับยาจริง 30 ราย อยู่ได้อย่างน้อย 22 เดือน และมี 1 ใน 3 จาก 30 รายนี้ ยังใช้ยามาจนถึงปัจจุบัน ขณะที่ในกลุ่มผู้ได้รับยาหลอก 14 ราย มี 13 ราย ได้ตัดเต้านมออกไปแล้ว กับอีก 1 ราย ไม่ได้ตัดออก ไม่มีผู้ใดเลยที่มีชีวิตอยู่ได้เกิน 2 เดือน Dr. Wen-Hung Kuo ซึ่งเป็นแพทย์ศัลยกรรมเต้านม ถึงกับหลั่งน้ำตาอย่างเสียใจหลังจากจบการทดลองนี้ เพราะท่านไม่สามารถอธิบายเกี่ยวกับผลสมุนไพรนี้ ให้กับทางมหาวิทยาลัยแห่งชาติไต้หวันได้ เพราะท่านก็เป็นแพทย์แผนปัจจุบัน ในตอนแรกท่านก็ไม่เชื่อว่ายานี้จะสามารถยับยั้งเซลล์มะเร็งได้ หรือสามารถช่วยยืดชีวิตผู้ป่วยเหล่านี้ได้ และมีประสิทธิภาพมากขนาดนี้

     ดังนั้น ผลการวิจัยมันจึงทำให้ท่านรู้สึกตกใจมาก ในตอนแรก ผู้ป่วยเหล่านี้กำลังจะเสียชีวิตอยู่แล้ว ทั้งผ่านการผ่าตัด ทำเคมีบำบัด ใช้ฮอร์โมนบำบัด และการใช้ยามุ่งเป้าทุกสิ่งไม่ได้ผล ที่เข้าโครงการทดลอง ก็เพื่อใช้ยาบรรเทาอาการเจ็บปวด เพื่อไม่ให้ทรมาน แต่หลังจากใช้ยาสมุนไพรนี้ ผู้ป่วยสามารถมีชีวิตอยู่ได้นานมากขึ้น ในปี 2008 THL-P ก็ได้รับสิทธิบัตรยาสมุนไพรต้านมะเร็งสำหรับมะเร็งเต้านมที่เยอรมัน มันยากมากที่จะได้รับสิทธิบัตรสำหรับประเทศเยอรมัน ในปี 2012 ได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่เอกสารงานวิจัยในสถาบันสุขภาพแห่งชาติของไต้หวัน ดร.ล่าย จี๋ หมิน และทีมวิจัย พบว่า THL-P สามารถยับยั้งเซลล์ต้นกำเนิดมะเร็งได้

 

ความรู้มะเร็ง

โซเชียลมีเดียกับมะเร็ง: ข้อมูลผิดๆ ที่อันตราย

13 | 17-04-2025

มะเร็งผิวหนัง สาเหตุหลักและปัจจัยเสี่ยงที่คุณควรรู้

67 | 08-04-2025

7 ปัจจัยเสี่ยงมะเร็งที่คนไทยมองข้าม! แค่หลีกเลี่ยงก็ลดโอกาสป่วยได้

72 | 07-04-2025

มะเร็งเต้านม ผู้ชายก็เป็นได้

77 | 02-04-2025

มะเร็งลิ้นเกิดจาก? สาเหตุ อาการ และวิธีป้องกันที่คุณต้องรู้

119 | 02-04-2025

การดูแลผู้ป่วย

วีธีการรับมือกับอาการ ท้องผูกและ ท้องเสีย จากการทำเคมีบำบัด

29 | 16-04-2025

การให้กำลังใจมีความสำคัญต่อผู้ป่วยมะเร็งอย่างไร

104 | 26-03-2025

การเตรียมตัว เข้ารับการรักษาด้วยการฉายรังสี

132 | 19-03-2025

วิธีจัดการกับอาการเบื่ออาหารหรือคลื่นไส้จากการรักษา

146 | 18-03-2025

มะเร็งมีกี่ระยะ และ การดูแลร่างกายผู้ป่วยมะเร็งในแต่ละระยะ

327 | 26-02-2025

การรักษามะเร็ง

ผลข้างเคียงจากการเคมีบำบัดที่คุณอาจต้องเจอ

265 | 19-02-2025

ก้าวใหม่ในการต่อสู้กับโรคร้ายและอนาคตที่สดใส

310 | 07-01-2025

คำแนะนำการเตรียมตัวสำหรับเข้ารับการรักษาด้วยเคมีบำบัด

271 | 09-12-2024

ยามุ่งเป้า (Targeted therapy) ในการรักษามะเร็งปอด

1809 | 15-11-2023

ผ่าตัดส่องกล้องทางนรีเวช ทางเลือกการผ่าตัดของคุณผู้หญิง

18566 | 25-10-2023

ชมรมฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคมะเร็งแห่งประเทศไทย 213/5 อาคารอโศกทาวเวอร์ ชั้น 6 ถ.สุขุมวิท 21(อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 1011

Copyright © 2021 www.siamca.com ขอสงวนสิทธิ์ ในการนำรูปภาพ หรือ ข้อความในเว็บไซต์ ไปเผยแพร่ หรือ ทำซ้ำ จะต้องได้รับการอนุญาตก่อนจึงจะกระทำได้